ปัจจุบันเพิ่งได้ทำสัญญากับนายจ้างเป็น outsource ให้กับบริษัทเอกชนแห่งหนึ่งค่ะ ในสัญญาจ้างมีข้อระบุแจ้งไว้ว่า

“หาก ‘ผู้รับจ้าง’ ไม่มาปฏิบัติงาน หรือมาปฏิบัติงานไม่ครบจำนวนหรือไม่ครบเวลาปฏิบัติงานไม่ว่าสาเหตุใดๆ ‘ผู้รับจ้าง’ จะต้องจัดหาคนอื่นที่มีความรู้ ความสามารถ หรือมีคุณสมบัติตามที่ ‘ผู้ว่าจ้าง’ กำหนดมาทดแทนดังกล่าวทันที ยกเว้นกรณีที่ลาป่วยฉุกเฉินมีใบรับรองแพทย์ หรือการลาล่วงหน้าที่ผู้ว่าจ้างอนุมัติแล้วหรือเหตุอันสมควนที่ ‘ผู้รับจ้าง’ ไม่สามารถปฏิบัติงานได้แต่ไม่ได้รับค่าบริการ”

ในกรณีแบบนี้นับเป็นการผิดกฎหมายในหัวข้อสิทธิการลาป่วย ลากิจ ลาพักร้อน ของลูกจ้างไหมคะ

เข้าใจว่ามีสิทธิลาป่วยตามกฎหมาย 30 วันต่อปี ลากิจจำเป็น 3 วัน พักร้อน 6 วัน
แต่หากว่าไม่สามารถทำงานได้ (หรือลา) ไม่ว่ากรณีใดๆ ตามสัญญาฉบับนี้ แล้วจะไม่ได้รับค่าจ้าง หรือโดนหักค่าจ้าง แม้จะเป็นรูปแบบการจ้างรายเดือน
“ ‘ผู้ว่าจ้าง’ ตกลงว่าจะจ้าง และ‘ผู้รับจ้าง’ ตกลงให้บริการ..ตามอัตราค่าบริการรายเดือน เดือนละ…ระยะเวลา…”

ซึ่งหากมีดารระบุว่าเป็นการจ้างจ่ายค่าจ้างรายเดือน แต่มีการหักเงินรายวันหากไม่สามารถทำงานได้ (ลาต่างๆ) ถือว่าเป็นการเอาเปรียบโดยผู้ว่าจ้างหรือไม่คะ?

labourqa

ปัจจุบันเพิ่งได้ทำสัญญากับนายจ้างเป็น outsource ให้กับบริษัทเอกชนแห่งหนึ่งค่ะ ในสัญญาจ้างมีข้อระบุแจ้งไว้ว่า

“หาก ‘ผู้รับจ้าง’ ไม่มาปฏิบัติงาน หรือมาปฏิบัติงานไม่ครบจำนวนหรือไม่ครบเวลาปฏิบัติงานไม่ว่าสาเหตุใดๆ ‘ผู้รับจ้าง’ จะต้องจัดหาคนอื่นที่มีความรู้ ความสามารถ หรือมีคุณสมบัติตามที่ ‘ผู้ว่าจ้าง’ กำหนดมาทดแทนดังกล่าวทันที ยกเว้นกรณีที่ลาป่วยฉุกเฉินมีใบรับรองแพทย์ หรือการลาล่วงหน้าที่ผู้ว่าจ้างอนุมัติแล้วหรือเหตุอันสมควนที่ ‘ผู้รับจ้าง’ ไม่สามารถปฏิบัติงานได้แต่ไม่ได้รับค่าบริการ”

ในกรณีแบบนี้นับเป็นการผิดกฎหมายในหัวข้อสิทธิการลาป่วย ลากิจ ลาพักร้อน ของลูกจ้างไหมคะ

เข้าใจว่ามีสิทธิลาป่วยตามกฎหมาย 30 วันต่อปี ลากิจจำเป็น 3 วัน พักร้อน 6 วัน
แต่หากว่าไม่สามารถทำงานได้ (หรือลา) ไม่ว่ากรณีใดๆ ตามสัญญาฉบับนี้ แล้วจะไม่ได้รับค่าจ้าง หรือโดนหักค่าจ้าง แม้จะเป็นรูปแบบการจ้างรายเดือน
“ ‘ผู้ว่าจ้าง’ ตกลงว่าจะจ้าง และ‘ผู้รับจ้าง’ ตกลงให้บริการ..ตามอัตราค่าบริการรายเดือน เดือนละ…ระยะเวลา…”

ซึ่งหากมีดารระบุว่าเป็นการจ้างจ่ายค่าจ้างรายเดือน แต่มีการหักเงินรายวันหากไม่สามารถทำงานได้ (ลาต่างๆ) ถือว่าเป็นการเอาเปรียบโดยผู้ว่าจ้างหรือไม่คะ?

labourqa

"หากท่านไม่ได้รับความเป็นธรรมตามที่กฎหมายกำหนด ท่านสามารถติดต่อ พนักงานตรวจแรงงาน ในท้องที่ที่ทำงาน เพื่อให้ดำเนินการตามอำนาจหน้าที่ให้ต่อไป (ในวันเวลาราชการ)
รายละเอียดเบอร์โทรศัพท์และที่ตั้งสำนักงาน เพื่อติดต่อ พนักงานตรวจแรงงาน มีดังนี้
สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานกรุงเทพมหานครพื้นที่ 1-10
https://www.labour.go.th/index.php/contact/contact-m1
สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัด
https://www.labour.go.th/index.php/contact/contact-m2
และท่านสามารถติดต่อกรมเพื่อขอคำปรึกษาได้หลายช่องทางดังนี้
1. สายด่วน 1546 (ในวันจันทร์-ศุกร์ เวลา 8.30-16.30 น.)
2. สายด่วน 1506 กด 3 (ในวันจันทร์-ศุกร์ เวลา 8.30-16.30 น.)"